ตัวตั้งคำถาม (Fragewort) เช่น wie, was, wer, wohin, woher เรานำมาใช้เมื่อต้องการคำตอบที่มากกว่า ใช่ หรือ ไม่ใช่ อ่านเพิ่มเติม “Typische Fragewörter”
ป้ายกำกับ: Fragewörter
ตัวตั้งคำคำถามที่มาพร้อมกับบุพบท (Fragewort mit Präpositionen) เช่น wovon, woran, womit, worüber, worauf เรานำมาใช้เมื่อต้องการคำตอบที่ละเอียดมากขี้น และมักจะคู่กับคำตอบที่เริ่มด้วยคำบุพบท von, an, mit … หรือคำวิเศษบุพบท (Präpositionaladverbien) เช่น davon, daran, damit, darüber ….
Fragewort mit Präpositionen
Schritt plus Lektion 13
Ich kann jetzt…
Kleidungstücke benennen |
คำศัพท์เสื้อผ้า |
Gefallen und Missfallen ausdrücken |
แสดงความพอใจและความไม่พอใจ |
Vorlieben und Bewertungen ausdrücken |
แสดงความชอบและความคิดเห็น |
Vorlieben erfragen |
ถามถึงความชอบ |
eine Auswahl treffen |
การเลือก |
im Kaufhaus um Hilfe bitten |
ขอความช่วยเหลือในห้างสรรพสินค้า |
อ่านเพิ่มเติม “Schritt plus Lektion 13”
Schritt plus Lektion 3
Ich kann jetzt…
Lebensmittel benennen | ชื่ออาหาร |
Dinge benennen | ชื่อสิ่งของ |
Preise und Mengen benennen | บอกราคาและปริมาณ |
Zahlen: 21–100 | เบอร์: 21-100 |
Preise, Gewichte und Maßeinheiten beim Einkaufen | ราคา น้ำหนัก และขนาด เมื่อไปช้อปปิ้ง |
Kennenlernen – ทำความรู้จัก
Wer eine Fremdsprache lernt, kann mit Menschen aus anderen Ländern ins Gespräch k
ommen.
ผู้ที่เรียนภาษาใหม่ จะได้ติดต่อแลัพูดคุยกับผู้คนจากประเทศอื่นๆ แน่นอน อ่านเพิ่มเติม “Kennenlernen – ทำความรู้จัก”
ถ้าคุณต้องการรู้อะไรสักอย่างก็คงหนีการตั้งคำถามไม่ผน เราสามารถถามถึงเนื้อหาทั้งหมด หรือเฉพาะข้อมูลที่เจาะจง ดังนั้นประโยคคำถามจึงมีอยู่ 2 แบบ อ่านเพิ่มเติม “Fragesätze”
Fragesätze
Zahlen ab 100 – ตัวเลขเกิน 100
Die Zahlen von 100-1000000
(ein) hundert | ฮุน–แดร์ท | 100 |
hunderteins | ฮุน–แดร์ท–ไอน์ส | 101 |
hundertzehn | ฮุน–แดร์ท–เซน์ | 110 |
zweihundert | ไซว–ฮุน–แดร์ท | 200 |
dreihundert | ไดร–ฮุน–แดร์ท | 300 |
(ein) tausend | เทา–เสน | 1000 |
tausendeins | เทา–เสน–ไอน์ส | 1001 |
tausendzehn | เทา–เสน–เซน์ | 1010 |
tausendeinhundert | เทา–เสน–ไอน์–ฮุน–แดร์ท | 1100 |
zweitausend | ไซว–เทา–เสน | 2000 |
zweitausendreihundertsieben-undsechzig | ไซวเทาเสน–ไดรฮุนแดร์ท–ซีเบ็น–อุนด์–เซ็คซิก | 2367 |
zehntausend | เซน์–เทา–เสน | 10000 |
hunderttausend | ฮุน–แดร์ท–เทา–เสน | 100000 |
dreihundertfünfzigtausend | ไดรฮุนแดร์ท–ฟึนฟ์ซิก–เทาเสน | 350000 |
Eine Million | ไอ–เน มิ–เลียน | 1000000 |
Übung
a | 2111 | 2112 |
b | 45000 | 54000 |
c | 313 | 330 |
d | 101000 | 111000 |
.
Martin Miller fragt. Bitte hören und ergänzen Sie die Zahlen
Wie alt ist die Stadt Köln? | เมืองโคโลญมีอายุเท่าไหร่? |
Köln ist … Jahre alt. | โคโลญมีอายุ … ปี |
Wie hoch ist die Kirche? | โบสถ์สูงเท่าไร? |
Der Kölner Dom? Der Dom ist …. Meter hoch. | วิหารโคโลญ? วิหารสูง …. เมตร |
Und noch ein Frage: Wieviele Menschen wohnen in Köln? | และอีกหนึ่งคำถาม: กิ่คนอาศัยอยู่ในโคโลญ? |
Hier wohnen ungefähr …. Menschen. | ที่นี่อาศัยอยู่ประมาณ … คน |
.
Das Zentrum von Köln.
Bitte lesen Sie.
Mitten im Zentrum von Köln liegt der Dom. Links liegt die Touristen-Information. Der Platz rechts ist der Frankenplatz. Die Museen sind ganz nah. In Norden liegt der Hauptbahnhof und im Osten der Fluss Rhein. | วิหารตั้งอยู่ในใจกลางของโคโลญ ด้านซ้ายเป็นสำนักงานการท่องเที่ยว จัตุรัสด้านขวาคือ Frankenplatz พิพิธภัณฑ์มีอยู่ใกล้มาก สถานีรถไฟหลักตั้งอยู่ทางตอนเหนือและแม่น้ำ Rheinอยู่ในทางทิศตะวันออก |
ตัวตั้งคำถามที่ปรากฏอยู่ในบทนี้ได้แก
Wie viele …. ? | เท่าไร …. ? |
Wie heißt ….. ? | ชื่ออะไร ….. ? |
Wo liegt …. ? | อยู่ที่ไหน …. ? |
Wie alt … ? | อายุเท่าไหร่ … ? |
Wie hoch … ? | สูงเท่าไร … ? |
Erstellen Sie Fragen.
-
Der Fernsehturm in Frankfurt ist 331 Meter hoch
-
Der Messeturm in Frankfurt ist 256 Meter hoch
-
Das Rathaus in Köln ist 670 Meter hoch
-
Die Stadt Rostock ist 780 Jahre alt
-
In Frankfurt wohnen 650.000 Menschen
-
In Oberstdorf wohnen 10.500 Menschen
.
หลังจากคุณได้เรียนรู้ ตัวเลขเกิน 100 แล้ว ลองทดสอบตัวเองโดยทำแบบฝึกหัดด้านล่าง
บทที่ 1.10 Grammatik 1 – ไวยากรณ์
1 Subjekt und Verb – ประธานและคำกริยา
การผันคำกริยาขึ้นอยู่กับประธานของประโยค | ||
Ich | wohn e | in Berlin |
Er | wohn t | in Köln. |
Wir | wohn en | in Deutschland. |
.
.
2 Das Pronomen – คำสรรพนาม
สรรพนามบุรุษเป็นคำแทนตัวผู้พูด แทนตัวผู้ฟัง แทนตัวผู้ที่ถูกกล่าวถึง | |
Frau Schmidt kommt aus Dortmund. |
Sie schläft. |
Martin Miller ist aus Australien. | Er arbeitet in Deutschland |
Anna und Thomas wohnen in Bremen. | Sie fahren nach Süddeutschland. |
.
.
3 Konjugation – การผันหรือกระจายกริยา
คำกริยาเยอรมันส่วนใหญ่ในปัจจุบันกาลเป็นไปตามรูปแบบข้างต้น | |||
kommen | fahren | sein | |
ich | komm e | fahre | bin |
du | komm st | f ä hrst | bist |
er, sie, es | komm t | f ä hrt | ist |
wir | komm en | fahren | sind |
ihr | komm t | fahrt | seid |
sie | komm en | fahren | sind |
Sie | komm en | fahren | sind |
.
.
4 Die W-Fragewörter – ตัวตั้งคำถาม
Wer ist das? |
Wie heisst sie? |
Wo wohnt er? |
Woher kommt er? |
Wohin fährt er? |
Was machst du? |
.
.
5 Der Imperativ-Satz – ประโยคคำสั่ง ขอร้อง แนะนำ
du | ihr | Sie | |
hören | Hör! | Hört! | Hören Sie bitte. |
sprechen | Sprich! | Sprecht! | Sprechen Sie bitte. |
lesen | Lies! | Lest! | Lesen Sie bitte. |
schreiben | Schreib! | Schreibt! | Schreiben Sie bitte. |
antworten | Antworte! | Antwortet! | Antworten Sie bitte. |
fragen | Frag! | Fragt! | Fragen Sie bitte. |
.
หลังจากคุณได้ทวน ไวยากรณ์ของบทที่ 1 แล้ว ลองทดสอบตัวเองโดยทำแบบฝึกหัดด้านล่าง
Test 1.10 Lektion 1
บทที่ 1.7 Konjugation – การผันหรือกระจายกริยา
ไวยากรณ์ที่สำคัญยิ่งเรื่องหนึ่งในภาษาเยอรมันคือ การผันหรือกระจายคำกริยา เพราะมันจะช่วยชี้ให้ผู้อ่านหรือผู้ฟังเข้าใจในทันทีว่า ผู้กระทำในประโยคคือใคร
ในภาษาเยอรมันคำกริยาจะต้องกระจายตามประธานของประโยคตามกฎเบื้องต้นดังนี
.
คำกริยา (Verb)
schlafen | ชลา เฟน | นอนหลับ |
lernen | แลร์–เนน | เรียนรู้ |
fahren | ฟา–เรน | ไป |
arbeiten | อาร์–ไป–เทน | การทำงาน |
verstehen | แฟร–สเท่–เฮน | เข้าใจ |
spielen | สพี–เลน | เล่น |
reisen | ไร–เซน | เดินทาง |
machen | มา–เคน | ทำ |
kommen | คอม–เมน | มา |
.
Regelmässige Verben
kommen | lernen | verstehen | wohnen | machen | ||
ich | -e | komm e | lern e | versteh e | wohn e | mach e |
du | -st | komm st | lern st | versteh st | wohn st | mach st |
er, sie, es | -t | komm t | lern t | versteh t | wohn t | mach t |
wir | -en | komm en | lern en | versteh en | wohn en | mach en |
ihr | -t | komm t | lern t | versteh t | wohn t | mach t |
sie | -en | komm en | lern en | versteh en | wohn en | mach en |
Sie | -en | komm en | lern en | versteh en | wohn en | mach en |
คำกริยาเยอรมันส่วนใหญ่ในปัจจุบันกาลผันตามกฎข้างต้นนี้
.
หากคำกริยที่ลงท้ายต้วย d หรือ t เช่น arbeiten, antworten, senden และ entscheiden
arbeiten | antworten | ||
ich | -e | arbeit e | antwort e |
du | –est | arbeit est | antwort est |
er, sie, es | –et | arbeit et | antwort et |
wir | -en | arbeit en | antwort en |
ihr | -et | arbeit et | antwort et |
sie | -en | komm en | lern en |
Sie | -en | komm en | lern en |
.
Verben mit Vokalwechsel
fahren | schlafen | ||
ich | -e | fahre | schlafe |
du | Umlaut +-st | f ä hrst | schl ä fst |
er, sie, es | Umlaut + -t | f ä hrt | schl ä ft |
wir | -en | fahren | schlafen |
ihr | -t | fahrt | schlaft |
sie | -en | fahren | schlafen |
Sie | -en | fahren | schlafen |
คำกริยามีการเปลี่ยนแปลงเฉพาะเมื่อประธานของประโยค เป็น บุรุษเอกพจน์ที่ 2 (du) และบุรุษเอกพจน์ที่ 3 (er, sie, es) หมายเหตุ: ไม่ใช้เสมอไปที่คำกริยาที่มี a มีการเปลี่ยนเสียงสระ
.
ตัวตั้งคำถามที่ปรากฏอยู่ในบทนี้ได้แก wer?
Wer wohnt in Berlin? | ใครอาศัยอยู่ในกรุงเบอร์ลิน? |
Wer macht Urlaub? | ใครพักร้อน? |
Wer fährt nach Italien? | ใครเดินทางไปอิตาลี? |
.
Fragen und Antworten. (ตอบโดยใช้บทความในบทที่ 1.6 Personalpronomen สรรพนามบุรุษ)
- Wer fährt nach Italien?
- Wer reist viel?
- Wer arbeitet in Deutschland?
- Wer kommt aus Australien?
- Wer schläft?
- Wer schläft nicht?
- Wer fährt nach Köln?
- Wer macht Urlaub?
- Wer kommt aus Dortmund?
.
Dialog im Zug. Bitte hören und ergänzen Sie.
.
หลังจากคุณได้เรียนรู้ตัวตั้งคำถาม wer? และการผันหรือกระจายกริยาในปัจจุบันกาลแล้ว ลองทดสอบตัวเองโดยทำแบบฝึกหัดด้านล่าง
ตัวตั้งคำถามใช้ถามเกี่ยวกับสถานที่ – Fragewort: Wohin? Wo? Woher? bei Länder- und Städtenamen
ในบทเรียนนี้คุณจะได้เรียนรู้คำศัพท์และไวยากรณ์ที่จะช่วยให้คุณสามารถพูดคุยเกี่ยวกับสถานที่ และช่วยให้คุณเข้าใจคำแนะนำง่ายเกี่ยวกับทิศทาง
.
Ein Zug. |
รถไฟ |
Wo ist der Zug? In Deutschland. |
รถไฟอยู่ที่ไหน? ในประเทศเยอรมนี |
Woher kommt er? Aus Kopenhagen. Oder vielleicht aus Moskau? |
เขามาจากที่ไหน? จากโคเปนเฮเกน หรืออาจจะมาจากมอสโก |
Wohin fährt der Zug? |
รถไฟจะไปที่ไหน? |
Vielleicht nach Wien? Oder nach Paris? |
บางทีอาจจะไปยังกรุงเวียนนา? หรือไปยังกรุงปารีส? |
Deutschland liegt mitten in Europa. |
เยอรมนีตั้งอยู่ในใจกลางยุโรป |
Jeden Tag fahren viele Menschen nach Norden, nach Süden, nach Osten und nach Westen. |
ทุกวันผู้คนจำนวนมากไป ยังทิศเหนือ ยังทิศใต้ ยังทิศตะวันออกและยังทิศตะวันตก |
.
Eine Reise planen (วางแผนการเดินทาง )
ไปหัดอ่านตารางรถไฟเยอรมันกันดู
.
ตัวตั้งคำถามที่ปรากฏอยู่ในบทนี้ได้แก
Woher kommt der Zug? | รถไฟมาจากที่ไหน? | |
Aus Kopenhagen. | จากโคเปนเฮเกน |
.
Wo ist der Zug? | รถไฟอยู่ที่ไหน? | |
In Deutschland. | ในประเทศเยอรมนี |
.
Wohin fährt der Zug? | รถไฟจะไปที่ไหน? | |
Nach Wien. | ยังเวียนนา |
คำคำถามเยอรมัน woher และ wohin บ่งบอกถึงการเคลื่อนไหวจากสถานที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง
ในขณะที่ wo ใช้ในคำถามสถานที่ที่ขาดการเคลื่อนไหว
.
หลังจากคุณได้เรียนรู้ตัวตั้งคำถามใช้ถามเกี่ยวกับสถานที่ Wo, Woher, Wohin แล้ว ลองทดสอบตัวเองโดยทำแบบฝึกหัดด้านล่าง
Übungsblatt 1.5 Mitten in Europa