Relativsatz 1

คำสรรพนามสัมพัทธ์มักใช้เพื่อจุดประสงค์ในโวหาร ช่วยขจัดความซ้ำซ้อน (ของคำนาม) และเชื่อมต่อความคิดได้อย่างราบรื่นยิ่งขึ้น

อ่านเพิ่มเติม “Relativpronomen”

Relativpronomen

grammatik-identitifpronomen1

เราใช้คำสรรพนามที่ไม่ระบุรายละเอียด (Indefinitpronomen) เมื่อเราพูดคุยถึงบางสื่งบางอย่างโดยรวมๆ หรือไม่ได้เป็นรูปธรรม นั้นก็หมายความว่าประธาน หรือกรรมของประโยคได้แทนด้วยคำ เช่น einer, keiner, etwas, nichts, man, jemand, jeder ….

grammatik-identitifpronomen2

อ่านเพิ่มเติม “Indefinitpronomen”

Indefinitpronomen

กประโยคบอกเล่าในภาษาเยอรมันต้องมีประธาน นั้นก็หมายความว่า เราไม่สามารถเริ่มต้นประโยคบอกเล่าด้วยคำกริยา ดังนั้นจึงมักจะต้องเอาคำศัพท์สรรพนาม “es” (มัน) มาช่วยในการสร้างวลีและผันกริยา

อ่านเพิ่มเติม “Pronom: es”

Pronom: es

Posted in Niveau A1

Schritt plus Lektion 14

Ich kann jetzt…

Datum erfragen und nennen

ถามและบอกวันที่

über Personen sprechen

พูดคุยเกี่ยวกับคนอื่น ๆ

Gründe angeben

ให้เหตุผล

einen Termin absagen und zusagen

รับและยกเลิกการนัด

Einladungen lesen und schreiben

อ่านและเขียนคำเชิญ

Feste nennen

งานฉลองต่าง ๆ

Glückwünsche ausdrücken

ให้คำอวยพร

อ่านเพิ่มเติม “Schritt plus Lektion 14”

Posted in Niveau A1

Schritt plus Lektion 13

Ich kann jetzt…

Kleidungstücke benennen

คำศัพท์เสื้อผ้า

Gefallen und Missfallen ausdrücken

แสดงความพอใจและความไม่พอใจ

Vorlieben und Bewertungen ausdrücken

แสดงความชอบและความคิดเห็น

Vorlieben erfragen

ถามถึงความชอบ

eine Auswahl treffen

การเลือก

im Kaufhaus um Hilfe bitten

ขอความช่วยเหลือในห้างสรรพสินค้า

อ่านเพิ่มเติม “Schritt plus Lektion 13”

ในกรณีกรรมตรง (Akkusativ Fall) คำนามหน้านามเพศชาย (maskulin Artikel) คำนามเพศชาย (maskulin Nomen)  คำคุณศัพท์ (Adjektive) และคำสรรพนาม (Pronomen) จะถูกผัน กรณีกรรมตรงเราจะนำใช้ เมื่อในประโยคมีประธานและกรรม นอกจากนี้ยังใช้ควบคู่กับคำกริยา (Verben) และคำบุพบท (Präpositionen) บางคำ

Grammatik deklination akkusativ

อ่านเพิ่มเติม “Akkusativ”

Akkusativ